สูตรพอกหน้าเครื่องสำอางของ dermal มีอย. นำเข้าจากประเทศเกาหลี

สำหรับเครื่องสำอางการพอกหน้าถือว่าเป็นวิธีที่สามารถทั้ง ดูแล รักษา บำรุงผิวพรรณที่มีปัญหาสะสมมาอย่างยาวนาน หรือสามารถให้ผิวพรรณเราที่ดีสามารถดีขึ้นได้ไปอีก และการคัดสรรสารจากธรรมมาชาิติที่มีอยู่หลายอย่างและมีคุณสมบัติในการบำรุง รักษา แก้ไข แตกต่างกัน จึงกลายเป็นผลิตภัณฑ์ที่ออกแบบมาหลายอย่างและแต่สภาพผิวที่ของคนเราที่มีความแตกต่างกัน

ลักษณะโดเด่นของเครื่องสำอางสูตรพอกหน้าจะเน้นเรื่องการแก้่ไขปัญญหาผิวพรรณให้เฆ้นผลชัดเจนที่สุด โดยจากผลการทดลองใช้จะสามารถช่วยฟื้นฟูสภาพผิวให้ดีขึ้นอย่างเห็นได้ชัดใน 14 วันและสำหรับคนที่อยากบำรุงผิวพรรณด้วยผิวพรรณตนเองดีอยู่แล้วจะรู้สึกได้ในครั้งแรกที่ใช้ ด้วยความละเอียดของการบำรุงตอนนี้หลาย ๆ ตัวจะเหมาะสำหรับผิวของผู้หญิง และตอนนี้มีการพัฒนาเครื่องสำอางสูตรพอกหน้า dermal สำหรับผู้ชายแล้วด้วยและได้รับการตอบรับว่าดีขึ้นเป็นอย่างมาก


นำเข้าอย่างถูกกฎหมาย ด้านหลัง อย. รับรอง
ผลิตภัณฑ์สูตรพอกหน้า dermal เป็นผู้ผลิตเครื่องสำอางเกาหลี ที่มุ่งเน้นด้าน บำรุงผิว และเวชสำอางโดยมุ่งเน้นไปที่กลุ่ม mask ที่มีประสิทธิภาพสูง และถือว่าประสบความสำเร็จดันดับ 1 ของประเทศเกาหลีตั้งแต่ พ.ศ. 2543เป็นมาและได้ขยายไปยังประเทศ ญี่ปุ่น มาเลยเซีย USA และต่อมาเมื่อปี 2549 ก็เริ่มเข้่ามาในประเทศไทย จีน และฮองกง สำหรับคนที่ไปเที่ยวเกาหลีบ่อย ก็จะรู้ว่า สูตรพอกหน้า Dermal มีวางจำหน่ายในห้าง Mingdo Korea เป็นที่รู้จักกันดีของนักท่องเที่ยว

 

ขอขอบคุณที่มา : http://mylove-vintage.com

Posted in Uncategorized | Leave a comment

หลักการเลือกซื้อเครื่องสำอางและคำแนะนำที่ดีในการใช้

โดยส่วนประกอบหลักของเครื่องสำอางแต่ละชนิดมักจะมีสารแต่ละตัวเป็นองค์ประกอบและจะมีส่วนประกอบอื่น ๆ ไว้ด้วยเสมอ โดยส่วนประกอบหลัก ๆ ที่สำคัญก็จะมี

น้ำ โดยส่วนใหญ่มักจะใช้น้ำกลั่นเพราะัมีความบริสุทธิ์สูงในเรื่องความสะอาดด้วยคุณสมบัติที่ไม่มีสารเจือปนโดยปกติเครื่ิองสำอางประเภทที่ใช้น้ำบริสุทธิ์เป็นส่วนประกอบมักจะอยู่ในรูปแบบโลชั่น โทนเนอ

น้ำมันออย ซึ่งจะมีไขมันเป็นส่วนประกอบอาจจะมีน้อยมากโดยมีกรดไขมันผสมอยู่และมีกลีเซอรีนทำหน้าที่เป็นเหมือนสะพานในการเชื่อมต่อระหว่างกรดไขมันสองชนิดที่เป็นทั้งกรดไขมันอิ่มตัวและกรดไขมันไม่อิ่มตัว โดยคุณสมบัติหลักของครีมบำรุงผิวที่มีน้ำมันออยเป็นส่วนประกอบก็เพื่อช่วยป้องกันการระเหยของของครีมในการบำรุงผิว หากเพียงแต่หลักการเลือกนั้นจะเลือกให้เหมาะกับสถาพผิวที่แตกต่างกันไป โดยบางคนผิวแห้ง บางคนผิวมัน บางคนผิวผสม โดยทางผู้ผลิตต้องเป็นคนกำหนดเองว่าครีมโลชั่นที่ใช้ทานั้นเหมาะสำหรับสภาพผิวแบบใด และครีมที่ดีจะต้องมีเนื้อครีมที่ละเอียดเรียบเนียนและไม่เหนียวเหนอะหนะ

Consistance เพราะว่าน้ำและน้ำมันไม่สามารถเข้ากันได้ดังนั้นสารที่ทำหน้่าที่เชื่อมควยามสัมพันธ์ระหว่างน้ำและน้ำมันเข้าด้วยกันเรียกว่า Emulsifier เป็นตัวทำให้ข้น เป็นความจำเป็นของผลิตภัณฑ์ที่จะต้องมีไว้

Emollient เป็นสารที่ทำให้ลื่นเพื่อสามรถเกลี่ยเนื้อครีมของได้ดูดซึมไปทั่วผิวหนัง

Huemactant เป็นสารที่ทำหใ้รักษษน้ำไว้เพื่อรักษาความชุ่นชื่นแก่ผิวหนังเพื่อไม่ให้ผิวแห้งหยาบ

Antioxidant เรียกว่าสารป้องกันเสีย ถือว่าเป็นส่วนสำคัญที่สุดของเครื่องสำอางต่าง ๆ ก็เพราะว่าหากปราศจากสารตัวนี้ออกไป อายุการใช้งานก็น้อยไปและความขาดทุนในการผลิตย่อมตามมาอย่างแน่้นอนและผู้่ผลิตควรระบุด้วยว่าเครื่องสำอางของเรานั้นหมดอายุเมื่อไหร่ด้วย

Posted in Uncategorized | Leave a comment

ปูพื้นฐานความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องเครื่องสำอางทั้งหมด

ความหมายของเครื่องสำอาง

หมายถึงที่สิ่งใช้สำหรับ ทา พอก ขัด ประพรม ในส่วนต่าง ๆ ตามร่างกายเพื่อประโชยน์ในเรื่อง ทำความสะอาด ปกป้องผิวพรรณ เพื่อรักษาความสมดุลของผิวหนังให้ความชุมชื่น และปกปิดตกแต่งผิวพรรณให้ดูสวยงามเรียบเนียนน่าดึงดูดใจให้มากที่สุด

สารต้องห้ามที่ไม่อนุญาติให้ใช้เครื่องสำอาง

ตาม กฎพระราชบัญญัติเครื่องสำอาง พ.ศ. 2535 เป็นกฎหมายที่มีกำกับดูแลสำหรับผู้ที่ประกอบธุรกิจและเจ้าหน้่าที่ที่เกี่ยว ข้องนำไปปฏิบัติตามว่าได้ดำเนินไปในทางที่ถูกต้องหรือไม่เกี่ยวกับเครื่อง สำอาง เป็นการบังคับเพื่อให้เป็นระบบเบียบและถูกต้องในเรื่องการปฏิบัติตาม

สำนักกรรมการอาหารและยาได้มีการกำหนดเอาไว้สำหรับเครื่องสำอางที่มีสารต้อง ห้ามจะต้องมีโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งปีหรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาทหรือทั้งจำ ทั้งปรับ โดยสารต้องห้ามทั้งหมดนั้นมีอยู่ 38 รายการด้วยกันที่ได้ประกาศไว้จากกระทรวงสารธารณสุขโดยสามารถแบ่งออกได้เป็น


1. สารปฏิชีวนะ (antibiotics)
2. สารหนู
3. เกลือของแบเรียม
4. เบนซิน
5. แคนทาริดีล
6. คาร์บอนไดซัลไฟด์
7. คอร์ติโคสเตอรอยด์
8. ฟอร์มาลดีไฮด์
9. ปรอท
10. เมทานอล
11. สารประกอบไนไตรต์ของโลหะ
12. ตะกั่ว สารประกอบของตะกั่วและ แร่ธาตุตะกั่ว
13. ธาตุกัมมันตรังสีต่างๆ
14. คาร์บอนเตตราคลอไรด์
15. ทอกซิน
16. ฟีนอล
17. ไนโตรเบนซีน
18. ฮอร์โมน
19. โมโนเบนโซน
20. โซเดียมเพอร์ออกไซด์
21. คลอโรฟอร์ม
22. มินอกซิดิล
23. เมทิลีนคลอไรด์
24. โซเดียมไพริไทโอน
25. เบนโซอิลเพอร์ออกไซด์
26. เฮกซาคลอโรฟีน
27. 4-เมทิลเมตาฟีนิลีนไดอะมีน
28. ออร์โทฟีนิลีนไดอะมีน
29. กรดเรทิโนอิก
30. รีซอร์ซินอล
31. คลอเฮกซิดีน
32. กรดอะเซลาอิก
33. พาดิเมท เอ
34. แมกนีเซียมซัลเฟตผนวกกับไดไพริไทโอน
35. ไฮโดรควิโนน
36. ไพโรแกลลอล
37. 2- แนพทอล
38. ไบไธโอนอล

Posted in Uncategorized | 1 Comment